Difference between revisions of "Eduroam Chaing Mai University"

From CMU ITSC Network
 
(33 intermediate revisions by the same user not shown)
Line 1: Line 1:
 
<br> [[File:EduHeader image.png|center|link=]]<br/>
 
<br> [[File:EduHeader image.png|center|link=]]<br/>
== About eduroam ==
 
=== What is eduroam ===
 
eduroam (education roaming) is a secure international roaming service for the international research and education community. eduroam allows users from participating institutions to obtain Internet connectivity across campus and when visiting other participating institutions by simply opening their laptop.
 
  
eduroam is based on a federated authentication model where your username and password are validated at your home institution (identity provider) and access to authorised network services are controlled by the visited institution (service provider).
+
== เกี่ยวกับ eduroam ==
 +
=== eduroam คืออะไร ===
 +
eduroam ย่อมาจาก “educational roaming” เป็นเครื่องหมายที่จดทะเบียนโดย TERENA ที่ก่อกำเนิดจากเครือข่ายการศึกษาและวิจัยของยุโรป (NRENs) เพื่อการใช้งานเครือข่ายที่เรียบง่าย ปลอดภัย และรองรับผู้ใช้งานที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นได้ โดย eduroam เป็นบริการเครือข่ายโรมมิ่งเพื่อการศึกษาและวิจัยสำหรับนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานของสถาบันผู้ให้บริการเครือข่าย (Service Provider)
  
=== History ===
+
eduroam เริ่มต้นขึ้นในปี 2546 จากการสาธิตความเป็นไปได้สำหรับการให้บริการงานเครือข่ายโรมมิ่งข้ามเครือข่าย โดยการใช้มาตรฐาน 802.1x ทำงานร่วมกับ Radius Server ของแต่ละสถาบันเพื่อให้บริการกับนักศึกษาและนักวิจัยจากสถาบันสมาชิกจาก 5 ประเทศ ประกอบด้วย เนเธอเลนด์ ฟินแลน โปรตุเกส โครเอเชีย และสหราชอาณาจักร
The eduroam initiative started in 2003 within TERENA's task force TF-Mobility which demonstrated the feasibility of combining a RADIUS-based infrastructure with IEEE 802.1X technology to provide roaming network access across research and education networks and was based on the initial federated 802.1X authentication work of the Open1X Group at the University of Utah in 2001. The initial test was conducted among five institutions located in the Netherlands, Finland, Portugal, Croatia and the UK. Later, other national research and education network organisations in Europe embraced the idea and gradually started joining the infrastructure, which was then called eduroam. Portugal was the first country to have eduroam and national mobility through eduroam available in almost all its institutions when the national government sponsored a project to deploy Wi-Fi networks in early 2003.
 
  
It soon gathered consensus outside Europe. The first non-European country to join eduroam was Australia, in December 2004. eduroam has evolved into a federation of federations (con-federation), where the single federations are run at national level and they all connect to a region. To date there are two confederations: the European and Asia-Pacific (APAN).
+
สำหรับในประเทศไทย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) จะทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการหลักของประเทศไทย (National Roaming Operator for Thailand) โดยเป็นผู้รับผิดชอบการให้บริการ eduroam สำหรับประเทศไทย และเป็นผู้กำหนดนโยบายการใช้งานระดับประเทศ โดย eduraom ในประเทศไทยมีการให้บริการ eduroam เป็นครั้งแรก ในงาน Asia-Pacific Advanced Network (APAN) ครั้งที่ 33 ที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 โดยมีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ
 +
 
 +
=== eduroam ทำงานอย่างไร ===
 +
eduroam มีการทำงานบนพื้นฐานของมาตรฐาน 802.1x ร่วมกับกลุ่มของ RADIUS proxy server ซึ่งมีการจัดกลุ่มตามลำดับชั้น โดย RADIUS server แต่ละตัวจะทำหน้าที่ในกาส่งต่อข้อมูลการยืนตัวบุคคลจากเครือข่ายผู้ให้บริการ (Service Provider) ไปยังเครือข่ายต้นสังกัดของผู้ใช้งานเพื่อยืนยันสิทธิ์การเข้าใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้
 +
 
 +
=== พื้นที่ให้บริการ eduroam ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ===
 +
นักศึกษาและบุคลากรจากมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เมื่ออยู่ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สามารถเชื่อมต่อได้ตามพื้นที่ต่อไปนี้
 +
[https://www.google.com/maps/d/embed?mid=1Edpk0bXXk8b1jDZ0M-VT5CvbhFQ&ll=18.78154211824673%2C98.95584762096405&z=14 Service Area]
 +
 
 +
=== จำนวนสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก eduroam ===
 +
ณ เวลานี้ มีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam ทั่วโลกมากมาย ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกมากกว่า 80 แห่ง และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่เป็นสมาชิกมากกว่า 100 ประเทศ <br/><br/> ดูแผนที่ให้บริการเครือข่าย eduroam [https://eduroam.org/where/ See the interactive map]
 +
 
 +
=== วิธีเชื่อมต่อ eduroam ด้วย CMU Account ===
 +
* [[Windows for eduroam]]
 +
* [[masOS for eduroam]]
 +
* [[iOS (iPhone,iPad) for eduroam]]
 +
* [[Android for eduroam]]
 +
 
 +
=== สถานะการใช้งาน eduroam : cmu.ac.th ===
 +
[https://eduroam-mon.uni.net.th/status/domain/cmu.ac.th Monitoring System]
 +
 
 +
== English Version ==
 +
*[[eduroamEN]]

Latest revision as of 08:51, 3 November 2023


EduHeader image.png


เกี่ยวกับ eduroam

eduroam คืออะไร

eduroam ย่อมาจาก “educational roaming” เป็นเครื่องหมายที่จดทะเบียนโดย TERENA ที่ก่อกำเนิดจากเครือข่ายการศึกษาและวิจัยของยุโรป (NRENs) เพื่อการใช้งานเครือข่ายที่เรียบง่าย ปลอดภัย และรองรับผู้ใช้งานที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นได้ โดย eduroam เป็นบริการเครือข่ายโรมมิ่งเพื่อการศึกษาและวิจัยสำหรับนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานของสถาบันผู้ให้บริการเครือข่าย (Service Provider)

eduroam เริ่มต้นขึ้นในปี 2546 จากการสาธิตความเป็นไปได้สำหรับการให้บริการงานเครือข่ายโรมมิ่งข้ามเครือข่าย โดยการใช้มาตรฐาน 802.1x ทำงานร่วมกับ Radius Server ของแต่ละสถาบันเพื่อให้บริการกับนักศึกษาและนักวิจัยจากสถาบันสมาชิกจาก 5 ประเทศ ประกอบด้วย เนเธอเลนด์ ฟินแลน โปรตุเกส โครเอเชีย และสหราชอาณาจักร

สำหรับในประเทศไทย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) จะทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการหลักของประเทศไทย (National Roaming Operator for Thailand) โดยเป็นผู้รับผิดชอบการให้บริการ eduroam สำหรับประเทศไทย และเป็นผู้กำหนดนโยบายการใช้งานระดับประเทศ โดย eduraom ในประเทศไทยมีการให้บริการ eduroam เป็นครั้งแรก ในงาน Asia-Pacific Advanced Network (APAN) ครั้งที่ 33 ที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 โดยมีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ

eduroam ทำงานอย่างไร

eduroam มีการทำงานบนพื้นฐานของมาตรฐาน 802.1x ร่วมกับกลุ่มของ RADIUS proxy server ซึ่งมีการจัดกลุ่มตามลำดับชั้น โดย RADIUS server แต่ละตัวจะทำหน้าที่ในกาส่งต่อข้อมูลการยืนตัวบุคคลจากเครือข่ายผู้ให้บริการ (Service Provider) ไปยังเครือข่ายต้นสังกัดของผู้ใช้งานเพื่อยืนยันสิทธิ์การเข้าใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้

พื้นที่ให้บริการ eduroam ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นักศึกษาและบุคลากรจากมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เมื่ออยู่ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สามารถเชื่อมต่อได้ตามพื้นที่ต่อไปนี้ Service Area

จำนวนสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก eduroam

ณ เวลานี้ มีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam ทั่วโลกมากมาย ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกมากกว่า 80 แห่ง และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่เป็นสมาชิกมากกว่า 100 ประเทศ

ดูแผนที่ให้บริการเครือข่าย eduroam See the interactive map

วิธีเชื่อมต่อ eduroam ด้วย CMU Account

สถานะการใช้งาน eduroam : cmu.ac.th

Monitoring System

English Version