Difference between revisions of "Eduroam Chaing Mai University"
Thomhathai (talk | contribs) |
Thomhathai (talk | contribs) |
||
(31 intermediate revisions by the same user not shown) | |||
Line 1: | Line 1: | ||
<br> [[File:EduHeader image.png|center|link=]]<br/> | <br> [[File:EduHeader image.png|center|link=]]<br/> | ||
− | * [[ | + | |
+ | == เกี่ยวกับ eduroam == | ||
+ | === eduroam คืออะไร === | ||
+ | eduroam ย่อมาจาก “educational roaming” เป็นเครื่องหมายที่จดทะเบียนโดย TERENA ที่ก่อกำเนิดจากเครือข่ายการศึกษาและวิจัยของยุโรป (NRENs) เพื่อการใช้งานเครือข่ายที่เรียบง่าย ปลอดภัย และรองรับผู้ใช้งานที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นได้ โดย eduroam เป็นบริการเครือข่ายโรมมิ่งเพื่อการศึกษาและวิจัยสำหรับนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานของสถาบันผู้ให้บริการเครือข่าย (Service Provider) | ||
+ | |||
+ | eduroam เริ่มต้นขึ้นในปี 2546 จากการสาธิตความเป็นไปได้สำหรับการให้บริการงานเครือข่ายโรมมิ่งข้ามเครือข่าย โดยการใช้มาตรฐาน 802.1x ทำงานร่วมกับ Radius Server ของแต่ละสถาบันเพื่อให้บริการกับนักศึกษาและนักวิจัยจากสถาบันสมาชิกจาก 5 ประเทศ ประกอบด้วย เนเธอเลนด์ ฟินแลน โปรตุเกส โครเอเชีย และสหราชอาณาจักร | ||
+ | |||
+ | สำหรับในประเทศไทย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) จะทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการหลักของประเทศไทย (National Roaming Operator for Thailand) โดยเป็นผู้รับผิดชอบการให้บริการ eduroam สำหรับประเทศไทย และเป็นผู้กำหนดนโยบายการใช้งานระดับประเทศ โดย eduraom ในประเทศไทยมีการให้บริการ eduroam เป็นครั้งแรก ในงาน Asia-Pacific Advanced Network (APAN) ครั้งที่ 33 ที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 โดยมีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ | ||
+ | |||
+ | === eduroam ทำงานอย่างไร === | ||
+ | eduroam มีการทำงานบนพื้นฐานของมาตรฐาน 802.1x ร่วมกับกลุ่มของ RADIUS proxy server ซึ่งมีการจัดกลุ่มตามลำดับชั้น โดย RADIUS server แต่ละตัวจะทำหน้าที่ในกาส่งต่อข้อมูลการยืนตัวบุคคลจากเครือข่ายผู้ให้บริการ (Service Provider) ไปยังเครือข่ายต้นสังกัดของผู้ใช้งานเพื่อยืนยันสิทธิ์การเข้าใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้ | ||
+ | |||
+ | === พื้นที่ให้บริการ eduroam ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ === | ||
+ | นักศึกษาและบุคลากรจากมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เมื่ออยู่ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สามารถเชื่อมต่อได้ตามพื้นที่ต่อไปนี้ | ||
+ | [https://www.google.com/maps/d/embed?mid=1Edpk0bXXk8b1jDZ0M-VT5CvbhFQ&ll=18.78154211824673%2C98.95584762096405&z=14 Service Area] | ||
+ | |||
+ | === จำนวนสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก eduroam === | ||
+ | ณ เวลานี้ มีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam ทั่วโลกมากมาย ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกมากกว่า 80 แห่ง และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่เป็นสมาชิกมากกว่า 100 ประเทศ <br/><br/> ดูแผนที่ให้บริการเครือข่าย eduroam [https://eduroam.org/where/ See the interactive map] | ||
+ | |||
+ | === วิธีเชื่อมต่อ eduroam ด้วย CMU Account === | ||
+ | * [[Windows for eduroam]] | ||
+ | * [[masOS for eduroam]] | ||
+ | * [[iOS (iPhone,iPad) for eduroam]] | ||
+ | * [[Android for eduroam]] | ||
+ | |||
+ | === สถานะการใช้งาน eduroam : cmu.ac.th === | ||
+ | [https://eduroam-mon.uni.net.th/status/domain/cmu.ac.th Monitoring System] | ||
+ | |||
+ | == English Version == | ||
+ | *[[eduroamEN]] |
Latest revision as of 08:51, 3 November 2023
เกี่ยวกับ eduroam
eduroam คืออะไร
eduroam ย่อมาจาก “educational roaming” เป็นเครื่องหมายที่จดทะเบียนโดย TERENA ที่ก่อกำเนิดจากเครือข่ายการศึกษาและวิจัยของยุโรป (NRENs) เพื่อการใช้งานเครือข่ายที่เรียบง่าย ปลอดภัย และรองรับผู้ใช้งานที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นได้ โดย eduroam เป็นบริการเครือข่ายโรมมิ่งเพื่อการศึกษาและวิจัยสำหรับนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานของสถาบันผู้ให้บริการเครือข่าย (Service Provider)
eduroam เริ่มต้นขึ้นในปี 2546 จากการสาธิตความเป็นไปได้สำหรับการให้บริการงานเครือข่ายโรมมิ่งข้ามเครือข่าย โดยการใช้มาตรฐาน 802.1x ทำงานร่วมกับ Radius Server ของแต่ละสถาบันเพื่อให้บริการกับนักศึกษาและนักวิจัยจากสถาบันสมาชิกจาก 5 ประเทศ ประกอบด้วย เนเธอเลนด์ ฟินแลน โปรตุเกส โครเอเชีย และสหราชอาณาจักร
สำหรับในประเทศไทย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) จะทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการหลักของประเทศไทย (National Roaming Operator for Thailand) โดยเป็นผู้รับผิดชอบการให้บริการ eduroam สำหรับประเทศไทย และเป็นผู้กำหนดนโยบายการใช้งานระดับประเทศ โดย eduraom ในประเทศไทยมีการให้บริการ eduroam เป็นครั้งแรก ในงาน Asia-Pacific Advanced Network (APAN) ครั้งที่ 33 ที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 โดยมีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ
eduroam ทำงานอย่างไร
eduroam มีการทำงานบนพื้นฐานของมาตรฐาน 802.1x ร่วมกับกลุ่มของ RADIUS proxy server ซึ่งมีการจัดกลุ่มตามลำดับชั้น โดย RADIUS server แต่ละตัวจะทำหน้าที่ในกาส่งต่อข้อมูลการยืนตัวบุคคลจากเครือข่ายผู้ให้บริการ (Service Provider) ไปยังเครือข่ายต้นสังกัดของผู้ใช้งานเพื่อยืนยันสิทธิ์การเข้าใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้
พื้นที่ให้บริการ eduroam ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นักศึกษาและบุคลากรจากมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เมื่ออยู่ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สามารถเชื่อมต่อได้ตามพื้นที่ต่อไปนี้ Service Area
จำนวนสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก eduroam
ณ เวลานี้ มีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam ทั่วโลกมากมาย ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกมากกว่า 80 แห่ง และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่เป็นสมาชิกมากกว่า 100 ประเทศ
ดูแผนที่ให้บริการเครือข่าย eduroam See the interactive map