Difference between revisions of "Eduroam Chaing Mai University"
Thomhathai (talk | contribs) |
Thomhathai (talk | contribs) |
||
Line 17: | Line 17: | ||
=== จำนวนสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก eduroam === | === จำนวนสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก eduroam === | ||
ณ เวลานี้ มีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam ทั่วโลกมากมาย ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกมากกว่า 80 แห่ง และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่เป็นสมาชิกมากกว่า 60 ประเทศ ดูสถาบันการศึกษาที่ให้บริการเครือข่าย eduroam ได้ที่ [https://eduroam.org/where/ See the interactive map] | ณ เวลานี้ มีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam ทั่วโลกมากมาย ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกมากกว่า 80 แห่ง และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่เป็นสมาชิกมากกว่า 60 ประเทศ ดูสถาบันการศึกษาที่ให้บริการเครือข่าย eduroam ได้ที่ [https://eduroam.org/where/ See the interactive map] | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
=== How does it work? === | === How does it work? === |
Revision as of 06:22, 2 November 2023
เกี่ยวกับ eduroam
eduroam คืออะไร
eduroam ย่อมาจาก “educational roaming” เป็นเครื่องหมายที่จดทะเบียนโดย TERENA ที่ก่อกำเนิดจากเครือข่ายการศึกษาและวิจัยของยุโรป (NRENs) เพื่อการใช้งานเครือข่ายที่เรียบง่าย ปลอดภัย และรองรับผู้ใช้งานที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นได้ โดย eduroam เป็นบริการเครือข่ายโรมมิ่งเพื่อการศึกษาและวิจัยสำหรับนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานของสถาบันผู้ให้บริการเครือข่าย (Service Provider)
eduroam เริ่มต้นขึ้นในปี 2546 จากการสาธิตความเป็นไปได้สำหรับการให้บริการงานเครือข่ายโรมมิ่งข้ามเครือข่าย โดยการใช้มาตรฐาน 802.1x ทำงานร่วมกับ Radius Server ของแต่ละสถาบันเพื่อให้บริการกับนักศึกษาและนักวิจัยจากสถาบันสมาชิกจาก 5 ประเทศ ประกอบด้วย เนเธอเลนด์ ฟินแลน โปรตุเกส โครเอเชีย และสหราชอาณาจักร
สำหรับในประเทศไทย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) จะทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการหลักของประเทศไทย (National Roaming Operator for Thailand) โดยเป็นผู้รับผิดชอบการให้บริการ eduroam สำหรับประเทศไทย และเป็นผู้กำหนดนโยบายการใช้งานระดับประเทศ โดย eduraom ในประเทศไทยมีการให้บริการ eduroam เป็นครั้งแรก ในงาน Asia-Pacific Advanced Network (APAN) ครั้งที่ 33 ที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 โดยมีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ
eduroam ทำงานอย่างไร
eduroam มีการทำงานบนพื้นฐานของมาตรฐาน 802.1x ร่วมกับกลุ่มของ RADIUS proxy server ซึ่งมีการจัดกลุ่มตามลำดับชั้น โดย RADIUS server แต่ละตัวจะทำหน้าที่ในกาส่งต่อข้อมูลการยืนตัวบุคคลจากเครือข่ายผู้ให้บริการ (Service Provider) ไปยังเครือข่ายต้นสังกัดของผู้ใช้งานเพื่อยืนยันสิทธิ์การเข้าใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้
พื้นที่ให้บริการ eduroam ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จำนวนสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิก eduroam
ณ เวลานี้ มีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกเครือข่าย eduroam ทั่วโลกมากมาย ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสถาบันการศึกษาที่เป็นสมาชิกมากกว่า 80 แห่ง และสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่เป็นสมาชิกมากกว่า 60 ประเทศ ดูสถาบันการศึกษาที่ให้บริการเครือข่าย eduroam ได้ที่ See the interactive map
How does it work?
With eduroam installed on your laptop, mobile phone or other device there's no need to request special accounts or borrow other people's IDs - just activate your device and you should be online.
eduroam's secure and privacy-preserving technology means that there is no need to enter usernames and passwords through insecure web browser forms. Your device will identify a valid eduroam access point and log-in automatically. Your password is never shared with any of the access points.
Your password for your online identity is provided to you by your 'home' institution - where you are enrolled in study or are employed.
What does it cost?
Thanks to global agreement, the eduroam Wi-Fi roaming service is free-of-charge to users.