Difference between revisions of "Nginx"
Line 12: | Line 12: | ||
=== Lab Diagram === | === Lab Diagram === | ||
− | [[File:Cloud nginx.png|link=]] | + | [[File:Cloud nginx.png|link=]]<br> |
+ | จากรูปภาพใน lab นี้จะใช้ nginx ทำ reverse proxy ในรูปแบบที่ใช้งานกันทั่ว ๆ ไป<br> | ||
+ | จะใช้ server 4 เครื่อง เป็น nginx 1 เครื่อง และเป็น web application node 3 เครื่อง<br> | ||
+ | 1. nginx(สีม่วง) ip 10.110.0.140<br> | ||
+ | 2. web-node-a(สีฟ้า) ip 10.110.0.61<br> | ||
+ | 3. web-node-b(สีเขียว) ip 10.110.0.21<br> | ||
+ | 4. web-node-c(สีส้ม) ip 10.110.0.204<br> |
Revision as of 09:50, 12 June 2018
บทนำ
เนื่องจากสำนักได้ให้บริการ private cloud แก่ส่วนงานต่าง ๆ ในรูปแบบ Infrastructure as a service นั้น
โดยปกติ work load ที่ deploy นั้นสามารถ run application ต่าง ๆ ได้แล้วติดต่อกันได้ผ่านระบบเครือข่ายภายใน
ส่วน application ที่ต้องบริการทั่วไปโดยต้องรับการติดต่อจาก Internet ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น web application
เพื่อให้ผู้ใช้งานจาก Internet ใช้งานเว็บไซต์ที่อยู่บน cloud ของส่วนงานได้ ทางสำนักจะมี Public IP address ให้กับ cloud ของส่วนงาน 1 หมายเลขต่อ cloud
แล้วจะทำการแปลง Public IP เป็น Private IP ให้โดยการทำ port forwarding หรือ destination NAT
โดย work load ที่เป็นปลายทาง NAT จะต้องเป็น reverse proxy เพื่อที่จะทำให้สามารถให้บริการหลาย ๆ เว็บไซต์ได้
บทความนี้จะสาธิตการตั้งค่าใช้งาน nginx ซึ่งเป็น reverse proxy ที่ใช้งานกันอย่างแพร่หลายเพื่อที่ทางส่วนงานจะได้นำไปประบุกต์ใช้กับระบบของส่วนงานต่อไป
และในท้ายบทความจะแนะนำการใช้งาน ssl certificate สำหรับการเข้ารหัสเว็บไซต์แบบฟรี
Reverse Proxy
Lab Diagram
จากรูปภาพใน lab นี้จะใช้ nginx ทำ reverse proxy ในรูปแบบที่ใช้งานกันทั่ว ๆ ไป
จะใช้ server 4 เครื่อง เป็น nginx 1 เครื่อง และเป็น web application node 3 เครื่อง
1. nginx(สีม่วง) ip 10.110.0.140
2. web-node-a(สีฟ้า) ip 10.110.0.61
3. web-node-b(สีเขียว) ip 10.110.0.21
4. web-node-c(สีส้ม) ip 10.110.0.204