Difference between revisions of "Loss Calculator"
(12 intermediate revisions by the same user not shown) | |||
Line 18: | Line 18: | ||
'''<br/> | '''<br/> | ||
− | == | + | ==การคำนวณค่า Channel Loss สาย Single Mode== |
− | + | ที่ความยาวคลื่น '''1310nm''' ความยาวสาย '''1.2 km.''' มีจุดต่อ Connector '''2 จุด''' และ จุดต่อแบบ Splice '''2 จุด'''<br/><br/> | |
+ | 1. (Cable Loss@1310nm x Length(m)) = (0.0005dB/m x 1200 m) = '''0.6 dB'''<br/> | ||
+ | 2. (Connector Loss x Point) = (0.75 dB x 2 Point) = '''1.5 dB'''<br/> | ||
+ | 3. (Splice Loss x Point) = (0.3 dB x 2 Point) = '''0.6 dB'''<br/> | ||
+ | เพราะฉะนั้น Channel Loss = (0.6 dB + 1.5 dB + 0.6dB) = '''2.7 dB'''<br/><br/> | ||
− | + | '''* ดังนั้น ค่า A-B Loss ที่อ่านได้จาก OTDR จะต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่า Channel Loss ที่คำนวณได้ จึงจะถือว่าผ่านตามมาตรฐาน''' | |
− | |||
− | == | + | ==การคำนวณค่า Channel Loss สาย Multi Mode== |
− | + | ที่ความยาวคลื่น '''850nm''' ความยาวสาย '''200 m''' มีจุดต่อ '''Connector 2 จุด''' โดยไม่มีจุดต่อแบบ Splice<br/><br/> | |
+ | 1. (Cable Loss@850nm x Length(m)) = (0.0035 dB/m x 200 m) = '''0.70 dB'''<br/> | ||
+ | 2. (Connector Loss x Point) = (0.75 dB x 2 Point) = '''1.5 dB'''<br/> | ||
+ | 3. (Splice Loss x Point) = (0.3 dB x 0 Point) = '''0 dB'''<br/> | ||
+ | เพราะฉะนั้น Channel Loss = ( 0.70 dB + 0 dB+ 1.5 dB ) = '''2.2 dB'''<br/> | ||
− | == | + | ==การดูกราฟ== |
− | + | 1. กราฟปกติ ที่ไม่มีจุดต่อสาย<br/><br/> | |
− | + | [[File:FiberQuipment2.jpg]]<br/><br/> | |
− | + | 2. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วย หัว Connector<br/><br/> | |
− | + | [[File:FiberQuipment3.jpg]]<br/><br/> | |
− | + | 3. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วยวิธีการ Splice<br/><br/> | |
− | + | [[File:FiberQuipment4.jpg]]<br/> | |
− | |||
− |
Latest revision as of 07:24, 11 September 2018
วิธีการอ่านค่าผลทดสอบสายใยแก้วนำแสง
ค่าต่างๆที่อ่านได้ในผลทดสอบ
1. ค่า A-B Distance คือ ค่าความยาวของสายใยแก้วนำแสงที่ทำการวัดได้จากการติดตั้ง หน่วยเป็น เมตร (m)
2. ค่า A-B Loss คือ ค่าการลดทอนสัญญาณของสายใยแก้วนำแสงที่ทำการวัดได้จากการติดตั้ง หน่วยเป็น เดซิเบล (dB)
• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Cable Loss ของสายใยแก้วนำแสง ชนิด Single mode จะมีค่าประมาณ 0.0005dB/m (1310nm) และ 0.0005dB/m (1550nm) ส่วนสายใยแก้วนำแสง ชนิด Multimode จะมีค่าประมาณ 0.0035dB/m (850nm) และ 0.0015dB/m (1300nm)
• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Connector Loss ของในแต่ละหัวต่อจะมีค่าไม่เกิน 0.75 dB
• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Splice Loss ของในแต่ละจุดเชื่อมต่อจะมีค่าไม่เกิน 0.3 dB
สูตรที่ใช้ในการคำนวณ Channel Loss
Channel Loss = (Cable Loss x Length) + (Connector Loss x Point) + (Splice Loss x Point)
วิธีการคำนวณค่า Channel Loss
1. นำค่า Cable Loss ของสายใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด (dB/m) x ค่า A-B Distance ของสายใยแก้วนำแสง (m)
2. นำค่า Connector Loss (dB) x จำนวนจุด
3. นำค่า Splice Loss (dB) x จำนวนจุด
4. นำค่าที่ได้ใน ข้อที่ 1 + ข้อที่ 2 + ข้อที่3
ดังนั้นจะได้ค่า Channel Loss ที่ได้จากการคำนวณ เพื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับค่า A-B Loss ที่วัดได้จากเครื่อง OTDR
การคำนวณค่า Channel Loss สาย Single Mode
ที่ความยาวคลื่น 1310nm ความยาวสาย 1.2 km. มีจุดต่อ Connector 2 จุด และ จุดต่อแบบ Splice 2 จุด
1. (Cable Loss@1310nm x Length(m)) = (0.0005dB/m x 1200 m) = 0.6 dB
2. (Connector Loss x Point) = (0.75 dB x 2 Point) = 1.5 dB
3. (Splice Loss x Point) = (0.3 dB x 2 Point) = 0.6 dB
เพราะฉะนั้น Channel Loss = (0.6 dB + 1.5 dB + 0.6dB) = 2.7 dB
* ดังนั้น ค่า A-B Loss ที่อ่านได้จาก OTDR จะต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่า Channel Loss ที่คำนวณได้ จึงจะถือว่าผ่านตามมาตรฐาน
การคำนวณค่า Channel Loss สาย Multi Mode
ที่ความยาวคลื่น 850nm ความยาวสาย 200 m มีจุดต่อ Connector 2 จุด โดยไม่มีจุดต่อแบบ Splice
1. (Cable Loss@850nm x Length(m)) = (0.0035 dB/m x 200 m) = 0.70 dB
2. (Connector Loss x Point) = (0.75 dB x 2 Point) = 1.5 dB
3. (Splice Loss x Point) = (0.3 dB x 0 Point) = 0 dB
เพราะฉะนั้น Channel Loss = ( 0.70 dB + 0 dB+ 1.5 dB ) = 2.2 dB
การดูกราฟ
1. กราฟปกติ ที่ไม่มีจุดต่อสาย
2. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วย หัว Connector
3. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วยวิธีการ Splice